ข้อดีของการมีประกันสุขภาพที่หลายๆ ท่านควรมีติดไว้

ปัจจุบัน ปัญหาเกี่ยวกับเรื่องสุขภาพของทุกๆ ท่านก็มักจะเจอหลากหลายสาเหตุที่จะทำให้พวกเราป่วย จึงทำให้มีหลายคนหันไปเตรียมตัวทำเกี่ยวกับ “ประกันชีวิต” และ “ประกันสุขภาพ” ซึ่งประกันทั้งสองแบบก็มีทั้งข้อดีและข้อเสียที่แตกต่างกันออกไป แถมปัจจุบันอาจจะมีการทำกรมธรรม์ที่รวบประกันทั้ง 2 อย่าง รวบกันเพื่อเจาะกลุ่มตลาดในเองครับ ซึ่งเราก็เชื่อยังมีหลายท่านไม่เคยรรู้ว่า “ข้อดีของการมีประกันสุขภาพ” อย่างไรบ้าง วันนี้เราจะพาไปหาคำตอบกันครับ ประกันสุขภาพคืออะไร? การประกันสุขภาพ คือ การประกันภัยที่บริษัทประกันภัยตกลงที่จะชดเชยค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น จากการรักษาพยาบาลของผู้เอาประกันภัย ไม่ว่าค่ารักษาพยาบาลนั้นจะเกิดขึ้นจากการเจ็บป่วยจากโรคภัย หรือการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุให้แก่ผู้เอาประกันภัยการประกันสุขภาพมีกี่ประเภท แต่ละประเภทมีขอบเขตความคุ้มครองแค่ไหน ซึ่งการประกันสุขภาพแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ การประกันภัยอุบัติเหตุ และสุขภาพหมู่และการ ประกันภัยอุบัติเหตุและสุขภาพรายบุคคล ทั้ง 2 ประเภท ให้ความคุ้มครองที่เหมือนกัน 3 ข้อดีของประกันสุขภาพ ประกันสุขภาพช่วยเซฟรายจ่าย เพราะประกันสุขภาพเป็นประกันภัยที่ช่วยคุ้มครองค่าใช้จ่ายจากการบาดเจ็บและอาการเจ็บป่วยต่าง ๆ ดังนั้นเมื่อเกิดเหตุการณ์ไม่คาดฝัน ไม่ว่าจะเป็นอุบัติเหตุ หรือโรคภัยไข้เจ็บ ที่จำเป็นต้องเข้ารับการรักษาในสถานพยาบาล และต้องเสียค่าใช้จ่ายมหาศาล โดยเฉพาะกับในสถานพยาบาลเอกชนที่เครื่องมือและบุคลากรทางการแพทย์ครบครัน เข้ารักษาได้ทันทีไม่ต้องรอคิวนานเหมือนฝั่งรัฐบาล ประกันสุขภาพจะเข้ามาซัพพอร์ตตรงนี้ ช่วยให้ผู้มีประกันสามารถทำการรักษาได้อย่างสบายใจมากขึ้น เพราะไม่ต้องกังวลเกี่ยวกับค่ารักษาที่อาจมากเกินกำลังของตัวเอง ประกันสุขภาพลดหย่อนภาษีได้ เคยมีคำพูดที่ว่า ประกันสุขภาพคือเงินทิ้งเปล่า ถ้าไม่เจ็บป่วยก็เท่ากับขาดทุน แต่ความจริงแล้ว ประกันสุขภาพ รวมถึงประกันโควิด-19 ที่หลายคนทำไว้ มีประโยชน์ด้านการเงินมากกว่าที่คิด เพราะสามารถนำไปลดหย่อนภาษีประจำRead More…

แพทย์เฉพาะทาง

หมอเฉพาะทางแบ่งออกเป็นด้านใดบ้าง?

แพทย์เป็นอาชีพที่มีความสำคัญเป็นอย่างมากสำหรับการดูแลรักษาสุขภาพของเราทุกคน ซึ่งปัญหาเกี่ยวกับเรื่องสุขภาพนั้น มีมากมายหลายแขนง หลายโรคเลยหล่ะครับ วันนี้เราจะพาทุกๆ ท่านไปพบกับ “หมอหรือ แพทย์เฉพาะทาง” ที่มีหลากหลายด้าน บทความนี้จะพาทุกๆ ท่านไปสำรวจกันครับว่า “แพทย์เฉพาะทางด้านต่างๆ ” ที่น่าสนในกันครับ เพื่อเป็นการไม่เสียเวลา เราไปชมกันเล้ยย !!! แพทย์เฉพาะทาง หมายถึงอะไร? การแพทย์เฉพาะทาง เป็นสาขาย่อยของวิทยาศาสตร์การแพทย์ ซึ่งหลังจากนักศึกษาแพทย์สำเร็จการศึกษาแพทยศาสตรบัณฑิตจากโรงเรียนแพทย์ แพทย์ที่เรียนจบอาจเลือกศึกษาต่อในสาขาเฉพาะทางโดยสมัครเป็นแพทย์ประจำบ้านตามสถาบันที่เปิดรับสมัคร และหลังจากสำเร็จการศึกษาแล้วจะได้เป็น แพทย์เฉพาะทาง (Medical specialist) ในสาขาที่ศึกษามา 5 สาขายอดนิยมของแพทย์เฉพาะทาง ศัลยแพทย์หัวใจ (Cardiac Surgeon) เรียนเกี่ยวกับความผิดปกติของหัวใจ วินิจฉัย และทำการรักษาโรคเกี่ยวกับ โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด ภาวะหัวใจวาย และลิ้นหัวใจรั่ว เป็นต้น ด้วยความที่โรคหัวใจเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตก่อนวัยอันเป็นอันต้นๆ ของโลกค่ะ ทำให้แพทย์ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับโรคหัวใจเป็นที่ต้องการมากขึ้นทุกวัน และมีรายได้เฉลี่ยต่อปีสูงมาเป็นอันต้นๆ ของบ้านเราเลย ศัลยศาสตร์ตกแต่ง (Plastic Surgery) ซึ่งก็ฮอตมากๆ ในปัจจุบัน เพราะคนเดี๋ยวนี้ก็เริ่มกล้าทำศัลยกรรมกันมากยิ่งขึ้น ซึ่งแพทย์ด้านศัลยกรรมตกแต่งจะศึกษาในเรื่องความผิดปกติของรูปร่าง ผิวหนัง รวมทั้งระบบกล้ามเนื้อและโครงร่างของร่างกายด้วย วิสัญญีแพทย์ (Anesthesiologist) ทำหน้าที่วางยาสลบ ยาชา บล็อกไขสันหลัง ฯลฯ เพื่อดูแลผู้ป่วยให้เกิดความเจ็บปวดน้อยที่สุดและปลอดภัยมากที่สุดระหว่างผ่าตัดและหลังจากผ่าตัด ซึ่งต้องทำงานร่วมกับแพทย์ผ่าตัดค่ะ สาขานี้ต้องวิเคราะห์และทำการเลือกใช้ยาให้เหมาะสมกับเคสผ่าตัดและกายภาพของผู้ป่วย เพื่อไม่ให้เป็นอันตรายถึงชีวิต จิตเวชศาสตร์ (Psychiatrist) หรือที่เรียกกันว่า “จิตแพทย์” เป็นเฉพาะทางด้านการแพทย์ที่เกี่ยวข้องกับอาการบกพร่องทางจิตจRead More…

นักเทคนิคการแพทย์

ทำความรู้จักกับ นักเทคนิคการแพทย์

ว่ากันด้วยเรื่องของอาชีพเกี่ยวกับ การแพทย์นั้น มีมากมายหลายแบบที่อยู่ในแวดลงนี้อีกด้วยหล่ะครับ หนึ่งนอาชีพที่น่าสนใจที่จะค่อยดูแลอุปกรณ์ต่างๆ ให้กับแพทย์ พยาบาลซึ่งนั้นก็คือ “นักเทคนิกการแพทย์” นั้นเอง วันนี้เราจะพาทุกๆ ท่านไปพบกับ “ทำความรู้จักกับ นักเทคนิคการแพทย์” กันครับ จะเป็นอย่างไรกันบ้างนั้น…เราไปชมกันเล้ยย เทคนิคการแพทย์คืออะไร? เทคนิคการแพทย์  เป็นผู้ประกอบวิชาชีพทางการแพทย์ ที่ปฏิบัติงานด้านการตรวจทางเทคนิคการแพทย์ ภายในห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ หรือ ห้องปฏิบัติการเทคนิคการแพทย์ หรือ ห้องปฏิบัติการเวชศาสตร์ชันสูตร หรือ ณ ตำแหน่งดูแลและให้บริการทางการแพทย์  หรือจะให้อธิบายง่ายๆ ก็คือ คนที่คอยตรวจสิ่งส่งตรวจต่างๆ ของคนไข้ ไม่ว่าจะเป็น เลือด เสมหะ ปัสสาวะ สารคัดหลั่งต่างๆ และก็อีกหลายๆ อย่างเลย อีกทั้งยังรวมไปถึงการเจาะเลือดคนไข้ และการรับบริจาคโลหิตด้วย การทำงานในโรงพยาบาล ก็จะทำงานกันอยู่ในห้องแล็บและก็ห้องเจาะเลือด นั้นเองครับ ความสำคัญของนักเทคนิคการแพทย์ เทคนิคการแพทย์ (Medical technologist หรือ Medical Laboratory Scientist หรือ Medical laboratory technologist) เป็นอาชีพที่มีบทบาทสำคัญในระบบสุขภาพเป็นอย่างมาก แต่คนจำนวนไม่น้อยไม่รู้ว่า เทคนิคการแพทย์ (หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า “หมอแลป”) นั้น มีหน้าที่อะไร ทำงานอะไรกันบ้าง สำคัญต่อระบบสุขภาพอย่างไร ซึ่งในการเลือกคณะนั้น น้องจำเป็นต้องศึกษาข้อมูลให้รอบคอบ ครบถ้วน ดูว่าเหมาะกับตัวน้องเองหรือไม่ เพราะนี่คือตัวกำหนดเส้นทางชีวิตของน้องเอง และอาชีพเทคนิคการแพทย์นี้ก็ไม่ได้เรียนสบาย ๆ ง่าย ๆ แต่กลับต้องใช้ความพยายาม มานะ อุตสาหะ มากพอสมควร เพราะอาชีพนี้เกี่ยวข้องกับชีวิตของผู้ป่วย ซึ่งต้องใช้ความรู้และทักษะเป็นอย่างมาก อีกทั้งเมื่อจบการศึกษา ยังต้องสอบใบประกอบวิชาชีพเพื่อประกันคุณภาพแต่ละบุคคลก่อนเข้าทำงานจริงอีกด้วย เครื่องมือหรืออุปกรณ์การแพทย์สำหรับโรงพยาบาล อุปกรณ์การแพทย์สำหรับโรงพยาบาล ประกอบไปด้วยอุปกรณ์การแพทย์และเครื่องมือแพทย์ทุกจุดประสงค์ ได้แก่ เครื่องมือทางการแพทย์เพื่อการวRead More…

อาหารเพื่อสุขภาพ

หลักการกินอาหารเพื่อรักษาสุขภาพ

 “การกิน”  เรียกได้ว่าเป็นสิ่งที่ใครทุกคนต้องทำต้องกินเพื่อประทังชีวิตกันอยู่แล้ว ซึ่งเรื่องของสุขภาพและการกินเป็นสิ่งที่คู่กันมาแต่ไหนแต่ไร บทความนี้จึงอยากพาทุกๆ ท่านไปพบกับ “หลักการกินอาหารเพื่อรักษาสุขภาพ” ที่น่าสนใจและทำตามกันครับ รับรองว่าเป็นเรื่องพื้นฐานที่สามารถทำตามกันได้ง่ายๆ เลยหล่ะ เพื่อเป็นการไม่เสียเวลา เราไปชมกันเล้ยย!!! 5 หลักการกินอาหารเพื่อสุขภาพ กินอาหารให้ครบ 5 หมู่ แต่ละหมู่ให้หลากหลาย และหมั่นดูแลน้ำหนักตัว พยายามกินอาหารให้ครบ 5 หมู่ และกินแต่ละหมู่ให้มีความหลากหลาย  ไม่จำเจอยู่เพียงอาหารไม่กี่ชนิด  เพื่อให้ร่างกายได้รับสารอาหารต่างๆ ครบในปริมาณที่เพียงพอกับความต้องการ’ หลีกเลี่ยงการกินอาหารรสหวานจัดและเค็มจัด ส่วนประกอบสำคัญของอาหารรสหวานจัดและเค็มจัด  ได้แก่  น้ำตาล และเกลือ  ซึ่งส่วนประกอบทั้ง 2 ชนิดเมื่อบริโภคมากเกินไป จะเป็นสาเหตุที่สำคัญของการเกิดโรคอ้วน และโรคความดันโลหิตสูง  ซึ่งวิธีปฏิบัตินอกจากการหลีกเลี่ยงอาหารที่มีรสหวานจัดและเค็มจัดแล้ว  เราควรพยายามรับประทานอาหารที่มีรสธรรมดา  หรือปรุงรสชาติเพิ่มเติมให้น้อยที่สุด  งดหรือลดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ เมื่อดื่มมาก จะมีผลทำให้การทำงานของระบบสมองและประสาทช้าลง  ทำให้เกิดการขาดสติได้ง่าย  และนำไปสู่การเกิดอุบัติเหตุ  เสียทรัพย์  เสียสุขภาพ  ก่อให้เกิดโรคตับแข็งและการขาดสารอาหารที่สำคัญหลายชนิด  ดังนั้นควรลดการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์หรือควรหลีกเลี่ยงให้มากที่สุด พยายามดื่มน้ำให้มากๆ และเพียงพอต่อความต้องการในแต่ละวัน ซึ่งหากร่างกายขาดน้ำจะเป็นอันตรายต่อร่างกายและสภาพผิวที่จะเสียความชุ่มชื้นได้นั้นเองครับ กินพืชผักให้มาก และกินผลไม้เป็นประจำ พืชผักและผลไม้ เป็นแหล่งสำคัญของวิตามินและแร่ธาตุ รวมทั้งสารอื่นๆ เช่น สารแอนติออกซิแดนท์ที่ช่วยไม่ให้อนุมูลอิสระทำลายเนื้อเยื่อและผนังเซลล์  ช่วยชะลอการเสื่อมสลายของเซลล์  ทำให้ผิวพรรณเปล่งปลั่ง ดูสดใส ไม่แก่เกินวัย  อาหารที่มีไขมันสูงไม่ดีอย่างไรบ้าง?   การที่เRead More…

โรงพยาบาล

องค์ประกอบของโรงพยาบาลเป็นอย่างไร

ขอต้อนรับเข้าสู่ปี 2024 กันนะครับทุกๆ ท่านปีใหม่ทั้งที่ก็คงอยากที่จะได้อะไรที่ดีและสิ่งใหม่ๆ ที่เหมาะกับเรา อะไรที่ผ่านมาแล้วก็ปล่อยไปให้เป็นบทเรียน เช่นเดียวกันกับเรื่องของการรักษาสุขภาพของเรา ท่านทราบเกี่ยวกับโครงสร้างหรือองค์ประกอบของโรงพยาบาลกันหรือไม่ครับ วันนี้เราจะพาทุกๆ ท่านไปหาความรู้เกี่ยวกับ “องค์ประกอบของโรงพยาบาลเป็นอย่างไร” กันครับว่าแบ่งกันอย่างไร เพื่อเป็นการไม่เสียเวลาเราไปชมกันเล้ยย นิยามของ “โรงพยาบาล” โรงพยาบาล หรือ สถานพยาบาล หรือ ศูนย์การแพทย์ เป็นสถานที่สำหรับให้บริการด้านสุขภาพให้กับผู้ป่วย โดยมักที่จะมุ่งเน้นการส่งเสริม ป้องกัน รักษา และฟื้นฟูภาวะความเจ็บป่วย หรือโรคต่าง ๆ ทั้งทางร่างกายและทางจิตใจ โดยปัจจุบันโรงพยาบาลได้ถูกแบ่งประเภทตามการดูแลควบคุมบริการเป็น โรงพยาบาลรัฐบาลและโรงพยาบาลเอกชน นอกจากนี้โรงพยาบาลยังถูกแบ่งเป็นสถานพยาบาลเฉพาะทางอีก เช่น สถาบันมะเร็งแห่งชาติ, โรงพยาบาลสงฆ์, โรงพยาบาลตา, โรงพยาบาลฟัน, สถาบันโรคผิวหนัง ทำความเข้าใจเกี่ยวกับระบบโรงพยาบาล ระบบโรงพยาบาล หรือระบบจัดการโรงพยาบาล Hospital Management System (HMS) เป็นระบบที่ทำงานอยู่บนเว็บไซต์หรือ ซอฟต์แวร์บน Cloud ที่ได้รับการออกแบบมาสำหรับเก็บรวบรวมข้อมูลจากทุกแผนกในโรงพยาบาลเอาไว้ เพื่อช่วยให้กระบวนการทำงานของแต่ละฝ่ายในโรงพยาบาล สามารถทำงานได้โดยอัตโนมัติ ไปในทิศทางเดียวกัน และสื่อสารกันอย่างเข้าใจ โดยระบบ HMS จัดทำขึ้นมาเพื่อช่วยในการประสานงานกับบุคลากรทุกฝ่ายในโรงพยาบาล การสื่อสารกับแพทย์ รวมถึงมอบหมายหน้าที่และความรับผิดชอบ ระหว่างบุคลากรให้สามารถทำงานได้อย่างราบรื่น นอกจากนี้ยังเกี่ยวข้องกับการจัดการข้อมูลของผู้ป่วย หรือข้อมูลส่วนตัวที่มีความสำคัญ ซึ่งระบบ HMS จะช่วยในการรักษาข้อมูลเหล่านี้ให้มีความปลอดภัยอยู่เสมอ ตัวอย่างการทำงานของระบบ HMS ได้แก่ เก็บรักษาระบบเวชระเบียนของผู้ป่วยให้อยู่ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ หรือ EMR (Electronic Medical Record) เก็บรักษารายละเอียดการติดต่อกับผู้ป่วย ติดตามวันนัดหมาย จัดเก็บข้อมูลประกันภัย เพRead More…

เครื่องมือแพทย์

5 เครื่องมือแพทย์ที่คุณควรรู้จัก

ว่ากันด้วยเรื่องของอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวกับแพทย์หรือโรงพยาบาลนั้น…มีมากมายหลายรายการที่น่าสนใจและเป็นอุปกรณ์เครื่องมือที่เป็นประโยชน์ต่อทุกๆ คนอย่างมหาศาลเลยก็ว่าได้ครับ ซึ่งวันนี้เราจึงอยากพาทุกๆ ท่านไปพบกับ “5 เครื่องมือแพทย์ที่คุณควรรู้จัก” ที่เราอาจจะเคยเห็นผ่านตากันมาบ้างแล้ว จะมีเครื่องออะไรบ้างนั้น…เราไปชมกันดีกว่าครับผม!! 5 เครื่องมือแพทย์ที่น่าสนใจ ●เครื่องกระตุ้นหัวใจ หรือ PACEMAKER เป็นเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อกระตุ้นจังหวะการเต้นของหัวใจ โดยทั่วไปเครื่องกระตุ้นหัวใจจะช่วยแก้ไขจังหวะการเต้นของหัวใจที่เต้นช้ากว่าที่ควร เนื่องจากหัวใจที่เต้นช้ากว่าปกติ จะไม่สามารถสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงอวัยวะส่วนอื่น ๆ ในร่างกายได้อย่างเพียงพอ ทำให้ผู้ป่วยรู้สึกอ่อนเพลีย ●เครื่องช่วยหายใจ คือ (Ventilator) คืออุปกรณ์ทางการแพทย์ ที่ช่วยให้ผู้ป่วยที่ไม่สามารถหายใจได้เอง หรือหายใจได้ไม่ดีไม่มีประสิทธิภาพ หรือหายใจไม่สะดวก สามารถกลับมาหายใจได้เป็นปกติอีกครั้ง ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็น 2 แบบ ได้แก่… เครื่องช่วยหายใจมีกี่แบบ? 1) เครื่องช่วยหายใจชนิดแรงดันบวกต่อเนื่อง CPAP (Continuous Positive Airway Pressure) เครื่องช่วยหายใจ CPAP (Continuous Positive Airway Pressure) คือ เครื่องช่วยหายใจประเภทควมคุมด้วยแรงดันประเภทหนึ่ง ที่ใช้รักษาอาการนอนกรนและภาวะหยุดหายใจขณะหลับ (Obstructive Sleep Apnea, OSA) โดยเครื่อง CPAP  สามารถรักษาอาการนอนกรนได้ทุกระดับ โดยเฉพาะผู้ที่มีอาการในระดับปานกลางถึงรุนแรง (Moderate to Severe OSA) ข้อดีของเครื่องช่วยหายใจประเภทนี้คือ ใช้ได้กับผู้ป่วยทุกเพศทุกวัย มีขั้นตอนการใช้งานง่ายไม่ซับซ้อน และที่สำคัญเลยคือสามารถเคลื่อนย้ายได้สะดวก 2) เครื่องช่วยหายใจชนิดแรงดันสองระดับ BiPAP (Bi-level Positive Airway Pressure) เครื่องช่วยหายใจชนิดแรงดันสองระดับ BiPAP (Bi-level Positive Airway Pressure) คือ เครื่องช่วยหายใจประเภทควมคุมด้วยแรงดันประเภทหนึ่ง ที่สามารถตั้งให้ระดับแรงดันอากาศในจังหวะหายใจเข้าที่เรียกว่า IPAP (Inspiratory Positive Airway Pressure) และระดับแรงดันอากาศในจังหวะหายใจออกที่เรียกว่า EPAP (Expiratory Positive Airway Pressure) มีค่าที่แตกต่างกันได้ โดยจะตั้งให้ค่าแรงดัน IPAP สูงกว่า EPAP เสมอ
Read More…

เทคโนโลยีด้านการแพทย์

5 เทคโนโลยีด้านการแพทย์ที่น่าสนใจ

ว่ากันด้วยเรื่องของเทคโนโลยีในปัจจุบันนั้น… เป็นช่วงหรือยุคที่ก้าวประโดดเป็นอย่างมากเลยหล่ะครับ ไหนจะทางด้าน IT ด้านรถยนต์ที่กำลังเปลี่ยนเป็นรถไฟฟ้าและอีกด้านหนึ่งที่น่าสนใจเป็นอย่างมากนั้นก็คือ ‘ด้านการแพทย์สมัยใหม่’ นั้นเองครับ วันนี้เราจึงอยากพาทุกๆ ท่านไปสำรวจเกี่ยวกับ “5 เทคโนโลยีด้านการแพทย์ที่น่าสนใจ” กันดูครับ เทคโนโลยีทางการแพทย์หมายถึงอะไร? เทคโนโลยีทางการแพทย์ หมายถึง วิทยาการที่เกี่ยวกับศิลปะในการนำเอาวิทยาศาสตร์ มาประยุกต์ใช้เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อมนุษย์ในด้านการแพทย์ เช่น การตรวจ การรักษาพยาบาล และการป้องกันโรค ด้วยวิธีการต่าง ๆ ได้แก่ 1. การพัฒนาเครื่องมือและอุปกรณ์ โดยอาศัยความรู้ด้านวิศวกรรมเป็นหลักในการผลิตเครื่องมือและอุปกรณ์ต่าง เช่น 1.1 เพื่อการตรวจและวินิจฉัยโรค1.2 เพื่อการรักษาพยาบาล1.3 เพื่อการป้องกันโรค 2. การพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการผลิตยา สาร หรือวิธีการที่ใช้ในทางการแพทย์ ในการพัฒนาบางครั้งต้องอาศัยเทคโนโลยี เทคนิค และวิธีการต่างๆ เช่น เทคโนโลยีชีวภาพ และเทคนิคทางด้านวิศวกรรม ได้แก่ – การพัฒนาวิธีการเพาะเลี้ยงเชื้อซึ่งเก็บตัวอย่างมาจากผู้ป่วย- การสร้างเด็กหลอดแก้ว- การหาสาเหตุและการรักษาโรคที่เกิดจากความบกพร่องทางพันธุกรรม- อุตสาหกรรมการผลิตยา- การผลิตเซรุ่ม- การผลิตวัคซีนป้องกันโรค 5 เทคโนโลยีด้านการแพทย์ ●อวัยวะเทียม หรือเรียกอีกอย่างว่า “ กายอุปกรณ์” คือ อุปกรณ์ทางการแพทย์ต่างๆที่ใช้กับร่างกาย ในความหมายที่ใช้ในปัจจุบัน มักจะหมายถึงอุปกรณ์ที่ใช้กับร่างกายเพื่อช่วยเหลือการเคลื่อนไหว เช่น แขนเทียม ขาเทียม อุปกรณ์ประคองหรือดามหลัง อุปกรณ์ดามมือ เป็นต้น ●หุ่นยนต์ผ่าตัด  เป็นอีกหนึ่งเทคโนโลยีซึ่งในปัจจุบันจะเป็นสิ่งที่ช่วยในการผ่าตัดให้กับศัลยแพทย์ โดยใช้เครื่องกลและระบบคอมพิวเตอร์สำหรับการช่วยให้แพทย์จัดการผ่าตัดได้อย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุดนั้นเองครับ ●แลปบนชิป คือ เทคโนโลยีที่สร้างขึ้นโดยนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ดเมื่อปี ค.ศ. 1979 และได้รับการพัฒนาต่อเนื่องจนถึงปัRead More…

ปัญหาเกี่ยวกับเรื่องของ “สุขภาพ”

5 โรคร้ายที่ยังไม่มีแนวการรักษาที่หายขาด

ปัจจุบันปัญหาเกี่ยวกับเรื่องของ “สุขภาพ” ของเราทุกคน นั้นล้วนแล้วแต่ต้องการที่จะไม่เจ็บไข้ได้ป่วยกันอย่างแน่นอน แต่ก็คงยีงมีโรคร้ายที่เราไม่มีทางรักษาหายได้เช่นกัน วันนี้เราจึงอยากพาทุก ท่านไปพบ “5 โรคร้ายที่ยังไม่มีแนวการรักษาที่หายขาด” ที่เราทุกๆ คนพึงควรระวังไม่ให้เกิดกับตนเองกันครับ จะเป็นอย่างไรนั้น ..เราไปชมกันดีวก่าครับ 5 โรคร้ายที่น่าสนใจและยังไม่มีทางรักษา ●โรคหลอดเลือดหัวใจ เพราะด้วยนิสัยการทานอาหารที่มีไขมันสูง, ไม่ยอมออกกำลังกาย, สูบบุหรี่จัด, ปล่อยตัวเองให้อ้วน, เป็นโดยพันธุกรรม และคร่ำเคร่งอยู่กับงานตลอดทั้งวัน และยังเป็นอีก 1 โรคแทรกซ้อนของผู้ที่เป็นเบาหวาน ●โรคเบาหวาน โรคเบาหวาน คือโรคที่ร่างกายสร้างฮอร์โมนอินซูลินมามาก จนทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ ร่างกายจึงไม่สามารถใช้น้ำตาลได้อย่างเหมาะสม และตับอ่อนทำงานได้อย่างไม่เต็มที่ จนไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้งานได้ หรือใช้งานได้น้อย จนทำให้น้ำตาลค้างอยู่ในเลือดสูง เบาหวานแบ่งเป็น 2 ชนิด คือ เบาหวานชนิดที่ภูมิคุ้มกันทำลายตัวเอง หรือที่เรียกกันว่า โรคภูมิต้านทานตัวเอง หรือ ออโตอิมมูน (autoimmune) ส่วนอีกชนิดนึงคือ เบาหวานที่ยังไม่สามารถหาสาเหตุที่แน่ชัดได้ แต่ส่วนใหญ่จะเป็นมาจากพันธุกรรม และเป็นเบาหวานชนิดที่คนเป็นมากที่สุด ผู้ที่เป็นเบาหวานในเบื้องต้น จะมีอาการปัสสาวะบ่อย และมีสีเข้มซึ่งถ้าปล่อยไว้สักพัก จะมีมดมาตอมที่ปัสสาวะ มีอาการอ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย, ดื่มน้ำเยอะ หิวน้ำบ่อย, เบื่ออาหาร น้ำหนักตัวลดลงโดยไม่ทราบสาเหตุ, เป็นแผลแล้วหายยาก เป็นแผลง่าย และเกิดอาการชาตามมือ ตามเท้า หรือส่วนอื่น ๆ ของร่างกายได้ง่ายและถี่ขึ้น การรักษา มีทั้งการฉีดอินซูลินเข้าไป เพื่อกระตุ้นให้ตับอ่อนสร้างอินซูลิน และการดูแลชีวิต ที่ต้องควบคุมอาหารที่มีไขมัน และน้ำตาลสูง, ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ, ควรเช็คน้ำตาลในเลือดทุกวัน, งดอาหารเค็ม และพบแพทย์ตามนัดเสมอ ●โรคความดันโลหิตสูง คือ โรคภาวะความดันโลหิตสูง โดยมีความดันสูงถึง 140/90 มิลลิเมตร – ปรอท ขึ้นไป โดยที่คRead More…

นักเทคนิกการแพทย์

ทำไมเทคนิคการแพทย์ถึงสำคัญ

เรื่องสุขภาพเป็นสิ่งที่อยู่กับเราทุกๆ คน หากเราสุขภาพไม่ดีก็จะทำให้การใช้ชีวิตของเราลำบากกันอย่างแน่นอนหล่ะครับ ซึ่งหาเวลาเราไม่สบาย ทุกๆ คนก็คงจะไปหาคุณหมอกันอยู่เสมอ แต่ท่านเคยสงสัยกันมั้ยครับว่า… การวินิจฉัยโรคต่างๆ ของหมอนั้นได้ข้อมูลต่างๆ มากจากใครกันแน่ วันนี้เราจึงอยากมาไขข้อความรู้นี่ให้กับทุกๆ ท่านกันครับ นิยามของคำว่า “นักเทคนิกการแพทย์” “นักเทคนิคการแพทย์ หรือ MT (Medical technologist) เป็นหนึ่งวิชาชีพสายวิทยาศาสตร์สุขภาพ ที่มีความสำคัญอย่างมาก มีหน้าที่ตรวจสอบตัวอย่างทางการแพทย์ โดยวิธีทางวิทยาศาสตร์และการรายงานผลการตรวจ เพื่อการพยากรณ์โรค วินิจฉัยโรค ติดตามการรักษา และการป้องกันโรค หรือเพื่อประเมินภาวะสุขภาพ” นั้นเองครับ ซึ่งจะเป็นงานที่คอยอยู่เบื้องหลัง ตรวจของเหลว สารคัดหลั่งของร่างกายผู้ป่วย เพื่อช่วยซัพพอร์ตคุณหมอ นักเทคนิคการแพทย์เป็นอย่างไร? นักเทคนิคการแพทย์ก็คือคนที่คอยตรวจสิ่งส่งตรวจต่างๆ ของคนไข้ ไม่ว่าจะเป็น เลือด เสมหะ ปัสสาวะ สารคัดหลั่งต่างๆ และก็อีกหลายๆ อย่างเลย อีกทั้งยังรวมไปถึงการเจาะเลือดคนไข้ และการรับบริจาคโลหิตด้วย การทำงานในโรงพยาบาล ก็จะทำงานกันอยู่ในห้องแล็บและก็ห้องเจาะเลือด เป็นต้น ซึ่งการจะทำอาชีพนี้ต้องผ่านการเรียนเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สุขภาพทั่วไป แต่จะไม่ลึกเท่าหมอ จะเน้นหนักไปที่พวก.. โลหิตวิทยา ธนาคารเลือด แบคทีเรีย ไวรัส เคมีคลินิก และภูมิคุ้มกัน ซึ่งในทุกๆ รายวิชาจะมีพาร์ตเลกเชอร์ ก็คือการนั่งเรียนฟังบรรยายในห้อง กับพาร์ตแล็บ เป็นการให้นักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติกันจริงๆ เสมือนว่าเรากำลังปฏิบัติหน้าที่อยู่ในห้องแล็บของโรงพยาบาล อุปกรณ์ทางการแพทย์ที่ควรมีติดบ้าน ●ปรอทวัดไข้ หากคุณมีอาการเป็นไข้ ดังนั้นคุณควรมีปรอทวัดไข้ติดบ้านไว้ คุณก็จะสามารถรับรู้ความผิดปกติของร่างกายได้อย่างทันท่วงที และเป็นการรู้ที่ละเอียด ไม่ใช่เพียงแค่สัมผัส แล้วรู้ว่าตัวร้อน มีปรอทวัดไข้คุณจะรู้อุณหภูมิที่แท้จริงของร่างกายในขณะที่วัด และหากคุณมีไข้สูงก็จะสามารถไปหาหมอได้ทันท่วงที ●Read More…

เทคนิคการแพทย์

เทคนิคการแพทย์เป็นอย่างไรกันนะ

ว่ากันด้วยเรื่องของสุขภาพและอาชีพที่เกี่ยวข้องนั้นมีมากมายหลายอย่าง แต่ที่หลายๆ ท่านจะคุ้นหูและสัมผัสกันมากที่สุดก็คงจะหนีไม่พ้นอาชีพเกี่ยวกับ “แพทย์” อย่างแน่นอนครับ แต่หลายๆ ท่านทราบกันหรือไม่ครับว่า… ยังมีอีกหนึ่งอาชีพที่น่าสนใจที่ควรสนับสนุนอาชีพแพทย์ให้มีความก้าวหน้าอยู่ด้วยเช่นกัน วันนี้เราจะพาทุกๆ ท่านไปพบกับอาชีพ “เทคนิคการแพทย์เป็นอย่างไรกันนะ” กันสักหน่อยครับ จะเป็นอย่างไรบ้างนั้น…เราไปชมกันเล้ยย!! อาชีพนักเทคนิคการแพทย์คืออะไร? นักเทคนิคการแพทย์ก็คือคนที่คอยตรวจสิ่งส่งตรวจต่างๆ ของคนไข้ ไม่ว่าจะเป็น เลือด เสมหะ ปัสสาวะ สารคัดหลั่งต่างๆ และก็อีกหลายๆ อย่างเลย อีกทั้งยังรวมไปถึงการเจาะเลือดคนไข้ และการรับบริจาคโลหิตด้วย การทำงานในโรงพยาบาล ก็จะทำงานกันอยู่ในห้องแล็บและก็ห้องเจาะเลือด เป็นต้น ซึ่งการจะทำอาชีพนี้ต้องผ่านการเรียนเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สุขภาพทั่วไป แต่จะไม่ลึกเท่าหมอ จะเน้นหนักไปที่พวก.. โลหิตวิทยา ธนาคารเลือด แบคทีเรีย ไวรัส เคมีคลินิก และภูมิคุ้มกัน ซึ่งในทุกๆ รายวิชาจะมีพาร์ตเลกเชอร์ ก็คือการนั่งเรียนฟังบรรยายในห้อง กับพาร์ตแล็บ เป็นการให้นักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติกันจริงๆ เสมือนว่าเรากำลังปฏิบัติหน้าที่อยู่ในห้องแล็บของโรงพยาบาล นิยามของคำว่า “นักเทคนิกการแพทย์” “ นักเทคนิคการแพทย์ หรือ MT (Medical technologist) เป็นหนึ่งวิชาชีพสายวิทยาศาสตร์สุขภาพ ที่มีความสำคัญอย่างมาก มีหน้าที่ตรวจสอบตัวอย่างทางการแพทย์ โดยวิธีทางวิทยาศาสตร์และการรายงานผลการตรวจ เพื่อการพยากรณ์โรค วินิจฉัยโรค ติดตามการรักษา และการป้องกันโรค หรือเพื่อประเมินภาวะสุขภาพ ” นั้นเองครับ  ซึ่งจะเป็นงานที่คอยอยู่เบื้องหลัง ตรวจของเหลว สารคัดหลั่งของร่างกายผู้ป่วย เพื่อช่วยซัพพอร์ตคุณหมอ กว่าจะเป็น “นักเทคนิคการแพทย์” ปี 1 เรียนวิชาพื้นฐานทั่วไป เรียนพื้นฐานของวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ แทบทุกวิชา เน้นการปูพื้นฐานให้แข็งแรงก่อนไปลงลึกเนื้อหาวิชาอื่น ๆ ในปีต่อไป ปี 2 ในปีนี้จะเริ่มเข้าสู่วิชาเฉพาะมากขึ้น เช่น พยาธิวิทRead More…